ผศ.ศราวุฒิ  ใจอดทน

ผศ.ศราวุฒิ ใจอดทน

ปริญญาโท สถ.ม. (นวัตกรรมอาคาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2552)

sarawut_ex@hotmail.com

ความเชี่ยวชาญ

สถาปัตยกรรมหลัก การออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อผู้สูงอายุและคนพิการ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น

ประวัติการศึกษา

สถ.ม. (นวัตกรรมอาคาร)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2552)

สถ.บ. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม)

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2546)


ผลงานทางวิชาการ

   ศราวุฒิ  ใจอดทน. (2561). แนวทางการพัฒนากายภาพแหล่งทรัพยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาติ กรณีศึกษา ป่าชุมชนเขาสามสิบส่างและเขาเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 20(27). มกราคม-มิถุนายน 2561. หน้า 109-125. (TCI กลุ่มที่ 1)

   ศราวุฒิ  ใจอดทน. (2562). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชาการก่อสร้างอาคาร 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. การประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูมิ” ครั้งที่ 4 “ภูมิปัญญาเพื่อการออกแบบอัจฉริยะ” (Wisdom for Smart Design). คณะสถาปัตยกรรม ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 13-14 มิถุนายน 2562, หน้า 60-73.

   ศราวุฒิ  ใจอดทน. (2562). การจัดการสภาพแวดล้อมที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุชุมชนตำบลหนองพลวงจังหวัดนครราชสีมา. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 15 “งานวิจัยเพื่อรังสรรค์อนาคต” (Research to Create Future Prospect). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 12-13 ธันวาคม 2562, หน้า 425-434.

ศราวุฒิ ใจอดทน, ขวัญนภา สิทธิ์ประเสริฐและณัฐนพิน ศรีราชเลา. (2562). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อภูมิทัศน์ข้างถนนทางเข้าอุทยานแห่งชาติกรณีศึกษาถนนธนะรัชต์ทางเข้าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่. การประชุมและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ ครั้งที่ 7/2562 “การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาสำหรับผู้สูงอายุ ความหมายของการศึกษาที่ไม่มีวันสิ้นสุด”. วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย ขอนแก่น. 16 พฤศจิกายน 2562, หน้า 1720-1998.

ประสบการณ์ด้านอื่น ๆ

1. มรดกวัฒนธรรมสองฝั่งโขง: สถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลตะวันตก (แหล่งทุน: วช., 2559)

2. การศึกษาเรือนพื้นถิ่นและวิถีการใช้ชีวิตในพื้นที่อารยธรรมขอมโบราณ จังหวัดนครราชสีมา (แหล่งทุน: สกอ., 2559)

3. แนวทางการพัฒนากายภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพแหล่งทรัพยากรท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา (แหล่งทุน: วช., 2560)

4. การศึกษาเรือนพื้นถิ่นและเทคโนโลยีการก่อสร้างจากภูมิปัญญาพื้นถิ่นของชุมชนไทยอีสาน กรณีศึกษา ตำบลมะเกลือเก่า อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา (แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2562)

5. การศึกษาเรือนพักอาศัยและภูมิปัญญาการก่อสร้างเรือนของกลุ่มคนจันทึกในตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา (แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2563)

6. แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์ข้างถนนทางเข้าอุทยานแห่งชาติเพื่อเพิ่มมูลค่าแหล่งท่องเที่ยว กรณีศึกษา ถนนธนะรัชต์บริเวณจากทางแยกถนนทางหลวงหมายเลข 2 ถึงทางเข้าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ (แหล่งทุน: วช., 2563)

7. การพัฒนากลไกเพื่อพัฒนานวัตกรรมรถโยก รถเข็น รถวิลแชร์ และการปรับสภาพแวดล้อมที่พักอาศัยให้เหมาะสมกับคนพิการด้านการเคลื่อนไหว จังหวัดนครราชสีมา (แหล่งทุน: วช., 2564)