ผศ.ดร.การุณย์ ศุภมิตรโยธิน

ผศ.ดร.การุณย์ ศุภมิตรโยธิน

ปร.ด. (สถาปัตยกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2561)

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

karun_ink@yahoo.com

ความเชี่ยวชาญ

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก ปร.ด. (สถาปัตยกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2561)

ปริญญาโท สถ.ม. (สถาปัตยกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2549)

ปริญญาตรี สถ.บ. (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2544)



ผลงานทางวิชาการ

การุณย์ ศุภมิตรโยธิน. (2556). แนวทางการออกแบบและวางผังชุมชนศิลปะหัตกรรมหล่อหินทราย          บ้านหนองโสน อ.โชคชัย จ.นครราชสีมา เพื่อรองรับการท่องเที่ยว. การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงาน เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ 25 ปี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ “สร้างสรรค์ ภูมิปัญญา ก้าวย่าง ยั่งยืน” คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 25 มกราคม 2556, หน้า 125-138.


การุณย์ ศุภมิตรโยธิน และวารุณี หวัง. (2015). สถานภาพการดำรงอยู่ของเรือนโคราชในปัจจุบัน กรณีศึกษาหมู่บ้านพระเพลิง จ.นครราชสีมา. Journal of Mekong Societies, Vol.11 No.1. January-April 2015, pp. 129-149 

การุณย์ ศุภมิตรโยธิน และวารุณี หวัง. (2559). คุณค่าของเรือนโคราชในทัศนคติของผู้อยู่อาศัย.วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ปีที่ 15 ฉบับที่ 2. กรกฎาคม – ธันวาคม 2559, หน้า 17-32. 

การุณย์ ศุภมิตรโยธิน. (2562). เรือนของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียงในอีสาน: การยึดแบบแผนดั้งเดิมการปรับตัว และการผสมผสานทางวัฒนธรรม.วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ปีที่ 18 ฉบับที่ 2. พฤษภาคม – สิงหาคม 2562, หน้า 21-33. (TCI กลุ่มที่ 1)

การุณย์ ศุภมิตรโยธิน. (2562). สถาปัตยกรรมเมืองเก่านครราชสีมากับศักยภาพในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. การประชุมทางวิชาการ “เจียระไนเพชร: รวมรายงานผลการศึกษา” โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยรุ่นใหม่ผ่านระบบ Multi-Mentoring System กลุ่ม MMS8 สาขามนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรม. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). 19-20 กรกฎาคม 2562, หน้า 43-72.

การุณย์ ศุภมิตรโยธิน. (2564). การเปลี่ยนแปลงย่านการค้าเก่าเมืองนครราชสีมาและโอกาสในการพัฒนา              เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์. วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1. มกราคม – เมษายน 2564, หน้า 13-26. (TCI กลุ่มที่ 2)

Karun Suphamityotin, Warunee Wang. (2018). Cultural intercourse of the Lao Vieng ethnic groups that reflects on the architectural style and the use of space in the Korat house. Kasetsart Journal of Social Sciences, Volume 041, Issue 1, January 2020- April 2020, Pages 160-168


ประสบการณ์ด้านอื่น ๆ

1. โครงการพัฒนาพื้นที่ชุมชนศิลปะหัตถกรรมหล่อหินทราย บ้านหนองโสน อ.โชคชัย จ.นครราชสีมา เพื่อรองรับการท่องเที่ยว (แหล่งทุน: วช., 2555)

2. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดการความรู้เรื่องอัตลักษณ์และภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัยของท้องถิ่น: กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณลุ่มน้ำมูล-ลำพระเพลิงในแอ่งโคราช (แหล่งทุน: การเคหะแห่งชาติ, 2559)

3. การศึกษาอัตลักษณ์และภูมิปัญญาการปลูกสร้างเรือนโคราช: กรณีศึกษาบ้านโคกกระชาย อ.ครบุรี จ.นครราชสีมา (แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2562)

4. โครงการฟื้นฟูมรดกวัฒนธรรมเมืองเก่าพิมาย ด้วยการขับเคลื่อนทางศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน (แหล่งทุน: สกว., 2563)