ผศ.มาริสา หิรัญตียะกุล

ผศ.มาริสา หิรัญตียะกุล

ปริญญาโท สถ.ม.(ออกแบบชุมชนเมืองและวางผังชุมชนเมือง) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2552)

marisa.h@nrru.ac.th

ความเชี่ยวชาญ

การออกแบบวางผังและพัฒนาย่านชุมชนอย่างยั่งยืน

ประวัติการศึกษา

ปริญญาโท  สถ.ม.(ออกแบบชุมชนเมืองและวางผังชุมชนเมือง) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2552)

ปริญญาตรี  สถ.บ.(สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (2548)

ผลงานทางวิชาการ

มาริสาหิรัญตียะกุล และนพดล ตั้งสกุล. (2565).“การศึกษาอัตลักษณ์ถิ่นที่ในงานสถาปัตยกรรม”.

JARS.19 (1).

รังสิมา กุลพัฒน์,จิตรมณี ดีอุดมจันทร์และมาริสาหิรัญตียะกุล. (2562). เมืองนครราชสีมา: การศึกษา

เมืองเก่าผ่านประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานและมรดกทางสถาปัตยกรรม.วารสารหน้าจั่ว, 16(1).

มาริสา หิรัญตียะกุล. (2561). “องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นกระเบื้องหลังคาดินเผาชุมชนด่าน

เกวียน”. Art and Architecture Journal Naresuan University, 9(2), 93-101.

มาริสา หิรัญตียะกุล. (2560). “การพัฒนาภูมิปัญญากระเบื้องหลังคาดินเผาเพื่อสร้างกระเบื้อง

หลังคาดินเผาที่มีการติดตั้งเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์”.วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล, 19(24),93-101.

มาริสา หิรัญตียะกุล. (2558).“แนวทางการออกแบบโครงข่ายทางสัญจรที่เหมาะสมภายใน

มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา”.วารสารวิชาการโฮมภูมิ, 2(2), 147-159.

ประสบการณ์ด้านอื่น ๆ

1. โครงการวิจัยเรื่อง การวางแผนบูรณะซ่อมแซมและออกแบบปรับปรุงอาคารและสภาพแวดล้อม

หน่วยควบคุมพื้นที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาแผงม้าสำนักงานบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 7 (นครราชสีมา) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช (แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, 2555)

2. โครงการวิจัยเรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์ที่อยู่อาศัย อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมาปี 2556

(แหล่งทุน: สมาคมอสังหาริมทรัพย์จังหวัดนครราชสีมา, 2556)

3. โครงการวิจัยเรื่อง แนวทางการออกแบบโครงข่ายทางสัญจรที่เหมาะสมภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา(แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2557)

4.โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาสำรวจและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนเรื่องที่อยู่อาศัยชุมชนท้าวสุระซอย3ระยะที่สอง

5. การพัฒนาภูมิปัญญากระเบื้องหลังคาดินเผาเพื่อสร้างกระเบื้องหลังคาดินเผา (แหล่งทุน:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2558)